Learn more about how to prepare for WE24, SWE’s annual conference.
- ข้อมูลเมืองพนัสนิคม
- เทศบาลเมืองพนัสนิคม (Phanat Nikhom)
- เทศบาลตำบลกุฎโง้ง (Kut Ngong)
- เทศบาลตำบลหัวถนน (Hua Thanon)
- เทศบาลตำบลหมอนนาง (Mon Nang)
- องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม (Tha Kham)
- องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งขวาง (Thung Khwang)
- องค์การบริหารส่วนตำบลนามะตูม (Na Matum)
- องค์การบริหารส่วนตำบลนาวังหิน (Na Wang Hin)
- องค์การบริหารส่วนตำบลนาเริก (Na Roek)
- องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านช้าง (Ban Chang)
- องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านเซิด (Ban Soet)
- องค์การบริหารส่วนตำบลวัดหลวง (Wat Luang)
- องค์การบริหารส่วนตำบลวัดโบสถ์ (Wat Bot)
- องค์การบริหารส่วนตำบลสระสี่เหลี่ยม (Sa Si Liam)
- องค์การบริหารส่วนตำบลหนองขยาด (Nong Khayat)
- องค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ (Nong Prue)
- องค์การบริหารส่วนตำบลหนองเหียง (Nong Hiang)
- องค์การบริหารส่วนตำบลหน้าพระธาตุ (Na Phra That)
- องค์การบริหารส่วนตำบลโคกเพลาะ (Khok Phlo)
- องค์การบริหารส่วนตำบลไร่หลักทอง (Rai Lak Thong)
- โรงเรียน
- วิถีชีวิต
- พนัสนิคมนิวส์
- เทศบาลเมืองพนัสนิคม
- เทศบาลตำบลกุฎโง้ง
- เทศบาลตำบลหัวถนน
- เทศบาลตำบลหมอนนาง
- อบต. ท่าข้าม
- อบต. ทุ่งขวาง
- อบต. นามะตูม
- อบต. นาวังหิน
- อบต. นาเริก
- อบต. บ้านช้าง
- อบต. บ้านเซิด
- อบต. วัดหลวง
- อบต. วัดโบสถ์
- อบต. สระสี่เหลี่ยม
- อบต. หนองขยาด
- อบต. หนองปรือ
- อบต. หนองเหียง
- อบต. หน้าพระธาตุ
- อบต. โคกเพลาะ
- อบต. ไร่หลักทอง
- ประชาสัมพันธ์
- ผู้สนับสนุนเว็บไซท์
- ติดต่อเรา
พระพนัสคู่บ้าน
จักสานคู่เมือง
ลือเลื่องบุญกลางบ้าน
ตำนานพระรถเมรี
ศักดิ์ศรีเมืองสะอาด
เก่งกาจการทายโจ๊ก
พระพนัสคู่บ้าน
พระพนัสบดี เป็นพระพุทธรูปศิลาศิลปะสมัยทวารวดี ซึ่งได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณวัตถุ โดยสันนิษฐานว่าพระพนัสบดีองค์จริงนั้น สร้างขึ้นในสมัยทวารวดี และมีการสร้างพระพนัสบดีองค์จำลอง ประดิษฐาน ณ หอพระพระพนัสบดี อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี จัดเป็นพระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะงดงามองค์หนึ่ง
==> พระพนัสบดี
จักสานคู่เมือง
ชาวพนัสนิคมส่วนใหญ่ประกอบอาชีพพาณิชยกรรม และหัตถกรรมที่สร้างรายได้และชื่อเสียงให้กับชาวพนัสนิคมเป็นอย่างมากคือ “การจักสาน” เครื่องจักสานพนัสนิคมเป็นผลิตผลจากการใช้ไม้ไผ่มาเป็นวัสดุในการจัดทำ สามารถสร้างสรรค์เป็นรูปทรงและขนาดต่างๆ ใช้ประโยชน์ได้อย่างหลากหลาย เช่น กระเป๋า ตะกร้า ฝาชี เครื่องประดับตกแต่งต่างๆ ฯลฯ
==> จักสาน
ลือเลื่องบุญกลางบ้าน
ประเพณีงานบุญกลางบ้าน เป็นประเพณีงานบุญของชาวไทยกลุ่มวัฒนธรรมที่ราบลุ่มภาคกลาง มักจัดขึ้นในราวกลางเดือน 3 ถึงเดือน 6 ตามปฏิทินจันทรคติไทย มักจะตกอยู่ในราวเดือนกุมภาพันธ์ ตามปฏิทินสุริยคติ
ประเพณีงานบุญกลางบ้าน ในปัจจุบัน จะจัดขึ้นหลังเสร็จสิ้นจากการเก็บเกี่ยวข้าวของเกษตรกรชาวนา โดยในแต่ละท้องถิ่นมีรายละเอียดการจัดประเพณีแตกต่างกันไป แต่ยังคงสาระหลักในการทำบุญกลางบ้าน เพื่อสร้างเสริมกำลังใจ และสร้างความสามัคคีของคนในชุมชนชนบทเอาไว้สืบมาจนปัจจุบัน
==> งานบุญกลางบ้าน
ตำนานพระรถเมรี
วรรณกรรมเรื่องพระรถเมรี หรือพระรถเสน เชื่อกันว่าเป็นนิทานพื้นบ้านของไทย เป็นวรรณกรรมที่ได้รับความนิยมแพร่หลาย มีการเล่าสืบทอดต่อๆกันมา แบบมุขปาฐะ ก่อนจะมีการเรียบเรียงขึ้นเป็นเรื่องหนึ่งในปัญญสชาดก หรือ พระเจ้า 50 ชาติ โดยพระเถระชาวเชียงใหม่ เพราะเค้าโครงเรื่องของพระรถเมรีนี้ มีความคล้ายคลึงกับนิทานพื้นบ้านชาติต่างๆ อาทิ อินเดีย ลังกา ไทยใหญ่ เขมร พม่า ลาว และอาหรับ เป็นต้น
==> พระรถเมรี
ศักดิ์ศรีเมืองสะอาด
เมืองพนัสนิคมเป็นเมืองตัวอย่างเมืองที่มีสุขภาวะดี ได้รับการยอมรับว่าเป็นเมืองต้นแบบด้านสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืนในระดับภูมิภาคอาเซียน รวมถึงได้รับการคัดเลือกจากองค์การอนามัยโลก (World Health Organization) ให้เป็น 1 ใน 1,000 เมืองระดับโลกที่ช่วยรณรงค์ด้านการพิทักษ์ชีวิตและสุขภาพของคนเมือง และได้รับรางวัลประกาศเกียรติคุณจากสถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา (LDI AWARDs) ให้เป็นเทศบาลเมืองที่มีค่าดัชนีความน่าอยู่สูงสุดเป็นอันดับ 1 ของประเทศ จากดัชนีที่ใช้ชี้วัด 5 มิติ ได้แก่ มิติเมืองปลอดภัย มิติเมืองสะอาด มิติเมืองคุณภาพชีวิต มิติเมืองธรรมาภิบาล และมิติเมืองวัฒนธรรม ซึ่งรางวัลเหล่านี้ล้วนการันตีได้ว่าเมืองพนัสนิคมเป็นเมืองที่มีการจัดการที่ดี เหมาะแก่การศึกษาเพื่อเป็นแบบอย่างนำไปสู้การพัฒนาเมืองอื่น ๆ ต่อไป
==> เมืองสะอาด
เก่งกาจการทายโจ๊ก
ทายโจ๊ก เป็น การละเล่นพื้นบ้าน ที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในสมัยรัชกาลที่ 5 แต่ปัจจุบันการละเล่นชนิดนี้กลับไม่เป็นที่รู้จักและหาชมได้ยากเต็มที เนื่องจากถูกทดแทนด้วยวัฒนธรรมต่างชาติและความบันเทิงรูปแบบใหม่ๆ ที่มาพร้อมกับเทคโนโลยีที่เจริญก้าวหน้า
การละเล่น ทายโจ๊ก คือการเล่นทายปริศนาร้อยกรองชนิดต่างๆ ทั้งโคลง กาพย์ กลอน ฉันท์ ประวัติความเป็นมาของการละเล่นชนิดนี้คาดว่าเกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 แรกเริ่มเป็นการละเล่นของคนจีน เรียกว่า “ผะหมี” (ผะ แปลว่า ตี, หมี แปลว่า ปัญหา หรือปริศนา) แล้วคนไทยจึงเลียนรูปแบบการเล่น แต่เปลี่ยนจากโคลงกลอนภาษาจีนมาใช้ร้อยกรองภาษาไทย เป็นที่นิยมเล่นในหมู่ราษฎรและเจ้านายในราชสำนัก
==> การทายโจ๊ก
พนัสนิคม
พระพนัสคู่บ้าน จักสานคู่เมือง ลือเลื่องบุญกลางบ้าน ตำนานพระรถเมรี ศักดิ์ศรีเมืองสะอาด เก่งกาจการทายโจ๊ก
ผู้สนับสนุน
แนะนำ
หมวดยอดนิยม
NOSHOW
กิจกรรม
คนดังเมืองพนัสนิคม
คลิป
คลิปทั่วไป
คลิปรายการทีวี
งาน
ชลบุรีนิวส์
ฐานข้อมูล
ตรวจหวย
ประชาสัมพันธ์
ผู้สนับสนุนเว็บไซท์
พนัสนิคม
พนัสนิคมนิวส์
พนัสพิทยาคาร
ร้านค้าในพนัสนิคม
ร้านอาหาร/เครื่องดื่ม
วัฒนานุศาสตร์
วิถีชีวิต
อบต. ทุ่งขวาง
อบต. ท่าข้าม
อบต. นามะตูม
อบต. นาวังหิน
อบต. นาเริก
อบต. บ้านช้าง
อบต. บ้านเซิด
อบต. วัดหลวง
อบต. วัดโบสถ์
อบต. สระสี่เหลี่ยม
อบต. หนองขยาด
อบต. หนองปรือ
อบต. หนองเหียง
อบต. หน้าพระธาตุ
อบต. โคกเพลาะ
อบต. ไร่หลักทอง
เทศบาลตำบลกุฎโง้ง
เทศบาลตำบลหมอนนาง
เทศบาลตำบลหัวถนน
เทศบาลเมืองพนัสนิคม
แหล่งที่พัก
แหล่งท่องเที่ยว
โควิด-19
โรงเรียน